Lifestyle
Lifestyle is the way of life of person, group, or culture.[1] The term "lifestyle" was used for first time by Austrian psychologist Alfred Adler (1870-1937).[2]
Individual identity
A lifestyle is a way of living or doing things. Lifestyle is doing things, living your life and making decisions in your own unique way. Lifestyle can be political, social, economical and personal way of seeing, doing and understanding things. Not all parts of a lifestyle are our decisions. Surrounding social and technical systems, like economical situation and people around us, can limit the lifestyle choices available to the individual.[3][4]
Examples
- Diets such as veganism, vegetarianism, freeganism, or raw foodism
- Alternative child-rearing, such as homeschooling
- Subcultures such as hippies
Category: Lifestyles
Category of articles dealing with alternative styles of living. These are lifestyle that are exceptions to what is commonly accepted as mainstream.
Subcategories
This category has the following 2 subcategories, out of 2 total.
B
S
- Simple living (15 P)
Pages in category "Lifestyles"
The following 21 pages are in this category, out of 21 total.
Category: Everyday life
Everyday life is the usual activity that happens to people, rather than a field of study or work.
Subcategories
This category has the following 28 subcategories, out of 28 total.
Pages in category "Everyday life"
The following 61 pages are in this category, out of 61 total.
S
รูปแบบการดำเนินชีวิต
รูปแบบการดำเนินชีวิต (หรือเรียกทับศัพท์ว่า ไลฟ์สไตล์) หมายถึง วิถีการดำเนินชีวิตของบุคคล โดยที่ลักษณะของพฤติกรรมต่างๆจะเป็นตัวบ่งบอกถึง รูปแบบการดำเนินชีวิต แต่ละแบบ
พฤติกรรมในการเข้าสังคม ในการบริโภค ในการหาความบันเทิง การพักผ่อนหย่อนใจใช้เวลาว่าง และการแต่งตัว ล้วนเป็นส่วนประกอบของรูปแบบการดำเนินชีวิต รูปแบบการดำเนินชีวิตจะถูกดำเนินเป็น อุปนิสัย เป็นวิธีประจำที่กระทำสิ่งต่างๆ
อัตลักษณ์ของแต่ละบุคคล
รูปแบบการดำเนินชีวิต โดยทั่วไปแล้วจะ บ่งบอกถึง ทัศนคติ ค่านิยม และ มุมมอง ของแต่ละบุคคล ดังนั้นรูปแบบการดำเนินชีวิต จึงมีความหมายในเชิงของอัตตาหรือตัวตน และใช้ในการสร้างสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่ประกอบกับอัตลักษณ์ของบุคคล[1]
เส้นแบ่งระหว่างอัตลักษณ์ของบุคคลกับการทำกิจกรรมต่างๆในแต่ละวันนั้น เลือนลางลงในสังคมยุคใหม่[2] ยกตัวอย่าง "กรีนไลฟ์สไตล์" (green lifestyle) ที่หมายถึง การยึดถึงความเชื่อและก็มีส่วนร่วมในกิจกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่จะลดการบริโภคหรือใช้ทรัพยากรธรรมให้น้อยลง รวมถึงลดการสร้างของเสียมีพิษลงด้วย (เช่น การลดรอยเท้าคาร์บอน), และการพัฒนาสำนึกแห่งตนจากความเชื่อและการทำกิจกรรมเหล่านั้น แต่มีบางคนวิจารณ์ว่า ในสังคมยุคใหม่ ประเด็นที่สำคัญของรูปแบบการดำเนินชีวิต ก็คือ พฤติกรรมการบริโภค ที่ให้โอกาสในการสร้างและพัฒนาความเป็นตัวเองจากการบริโภคหรือใช้ผลิตภัณฑ์หรือบริการที่หลากหลาย ซึ่งผลิตภัณฑ์หรือบริการเหล่านั้นเองที่เป็นตัวบ่งบอกถึงรูปแบบการดำเนินชีวิตที่แตกต่างกัน[3]
โฆษณาและการตลาด
ในวงการธุรกิจ รูปแบบการดำเนินชีวิตจะช่วยให้การโฆษณาและการทำตลาด สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้เหมาะสม โดยการนำเสนอสินค้าและบริการที่มีลักษณะเฉพาะเข้ากับแต่ละรูปแบบ รวมถึงใช้ในสังเคราะห์วิธีที่ใช้การกระตุ้นความต้องการในแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
รูปแบบการดำเนินชีวิตจะเกี่ยวข้องกับปัจจัยต่างๆ เช่น อุปนิสัย ทัศนคติ รสนิยม ค่านิยมทางศีลธรรม ฐานะทางเศรษฐกิจ และอื่นๆ
หมวดหมู่:ชีวิตประจําวัน
ชีวิตประจําวันเป็นกิจกรรมปกติที่เกิดขึ้นกับผู้คนมากกว่าสาขาวิชาหรือการทํางาน
ประเภทย่อย
หมวดหมู่นี้มีหมวดหมู่ย่อย 28 ประเภทต่อไปนี้ จากทั้งหมด 28 หมวดหมู่
A
- เกษตรกรรม(15 C, 95 P)
B
- บาร์โค้ด(4 P)
C
- เสื้อผ้า(16 C, 56 P)
- สี (1 C, 3 P)
- เครื่องสําอาง(2 C, 19 P)
- วัฒนธรรม(24 C, 46 P)
E
- การจ้างงาน(1 C, 28 P)
- ความบันเทิง(35 C, 31 P)
F
- อาหารและเครื่องดื่ม(10 C, 42 P)
M
- การจัดการ (1 C, 21 P)
- การผลิต (6 C, 40 P)
- การแต่งงาน(4 C, 51 P)
- เพลง(36 C, 68 P)
O
- วัตถุ (13 C, 5 P)
P
- ชีวิตส่วนตัว (2 C, 4 P)
- ความเป็นส่วนตัว(6 P)
R
- ความสัมพันธ์(1 C, 40 P)
S
- ความปลอดภัย (4 C, 42 P)
- ทักษะ (5 C, 8 P)
- เครื่องเขียน(1 C, 5 P)
W
- ของเสีย (2 C, 22 P)
หน้าในหมวดหมู่ "ชีวิตประจําวัน"
หน้า 61 ต่อไปนี้อยู่ในหมวดหมู่นี้ จากทั้งหมด 61 หน้า